โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การประดิษฐ์หมอนที่รองเมาส์จากสมุนไพรโดยการนำเสนอผ่าน
Blog
โดย
เด็กหญิงตรีรัตน์ อินสว่าง
เลขที่ 23
เด็กหญิงธัญรดา บุญเรืองรอด
เลขที่ 25
เด็กหญิงเปรมฤทัย ศรีบุญเพ็ง
เลขที่ 26
เด็กหญิงศศิประภา นาคปาน
เลขที่ 29
เด็กหญิงศิวภรณ์ ดวงแก้ว
เลขที่ 30
มัธยมศึกษาปีที่ 3/1
โครงงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้งานการอาชีพและเทคโนโลยี
โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย
สุพรรณบุรี
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง
การประดิษฐ์หมอนที่รองเมาส์จากสมุนไพรโดยการนำเสนอผ่าน Blog
คณะผู้จัดทำ
1.
เด็กหญิงตรีรัตน์ อินสว่าง เลขที่ 23
2.
เด็กหญิงธัญรดา บุญเรืองรอด เลขที่ 25
3.
เด็กหญิงเปรมฤทัย ศรีบุญเพ็ง เลขที่ 26
4.
เด็กหญิงศศิประภา นาคปาน เลขที่ 29
5.
เด็กหญิงศิวภรณ์ ดวงแก้ว เลขที่ 30
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1
โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย
สุพรรณบุรี
คุณครูที่ปรึกษา คุณครูเพ็ญประภา
นันทนาสิทธิ์
ปีการศึกษาที่
2/2557
บทคัดย่อ
การประดิษฐ์หมอนที่รองเมาส์จากสมุนไพรโดยการนำเสนอผ่าน
Blogมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยลดความเมื่อยล้าของข้อมือและเพื่อผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์จะรู้สึกผ่อนคลายจากความเครียดที่เกิดจากการอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานโดยมีขั้นตอนการทำเป็นหมอนที่รองเมาส์จากสมุนไพรแล้วทดสอบว่าสามารถช่วยลดความเมื่อยล้าของข้อมือและช่วยผ่อนคลายจากความเครียดที่เกิดจากการอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานได้หรือไม่
จากการทดสอบพบว่า ความพึงพอใจของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์
หมอนที่รองเมาส์จากสมุนไพร ในด้านความสวยงามของผลิตภัณฑ์
มีผู้ใช้จำนวน 5 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด ด้านผลิตภัณฑ์สามารถลดความเมื่อยล้าของข้อมือได้ มีผู้ใช้จำนวน 3 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด ด้านผลิตภัณฑ์มีขนาดที่เหมาะสมต่อการใช้งาน มีผู้ใช้จำนวน 4 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด
ด้านผลิตภัณฑ์มีความสร้างสรรค์ มีผู้ใช้จำนวน 6 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด และด้านผู้ใช้รู้สึกผ่อนคลายจากการอยู่หน้าคอมเวลานาน มีผู้ใช้จำนวน 5 คนพึงพอใจในระดับมาก
บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ
เนื่องจากปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ต่อ
ทุกวงการทั่วโลก
รวมทั้งวงการศึกษาไทยด้วย และผลพวงที่ติดตามมาก็คือปัญหาทางด้านสุขภาพ
เพราะปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์เป็น
ใช้โดยเฉลี่ยจัดว่าประชากรใช้คอมพิวเตอร์หลายชั่วโมงต่อวัน
ซึ่งแน่นอนว่าการนั่งจ้องคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ
จะเกิดผลเสียต่อสุขภาพอย่างแน่นอน
ดังนั้นจากเหตุผลดังกล่าวทางคณะผู้จัดทำจึงคิดประดิษฐ์หมอนที่รองเมาส์จากสมุนไพรโดยการนำเสนอผ่าน
Blog เพื่อช่วยลดความเมื่อยล้าของข้อมือจากการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
และเพิ่มประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ด้วยการเพิ่มกลิ่นสมุนไพรเข้าไปในหมอนเพื่อผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์จะรู้สึกผ่อนคลายจากความเครียดที่เกิดจากการอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อช่วยลดความเมื่อยล้าของข้อมือ
2. เพื่อผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์จะรู้สึกผ่อนคลายจากความเครียดที่เกิดจากการอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
ขอบเขตการศึกษา
ในการประดิษฐ์นี้ จะเป็นการพัฒนาเครื่องมือเกี่ยวกับอุปกรณ์เสริมในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โดยมีขอบเขตการศึกษาคันคว้าดังนี้
สถานที่ทำการทดลอง
บ้านเลขที่238 ตำบลท่าระหัด
อำเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
ระยะเวลาในการทดลอง
ตั้งแต่การทำการประดิษฐ์ครั้งนี้ทำในช่วงเดือนพฤศจิกายน
2557 – กุมภาพัธ์ 2558ระยะเวลาตั้งแต่วันที่
17 พฤศจิกายน 2557 - 2 กุมภาพันธ์ 2558
ประโยชน์ที่ได้รับ
1. ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2. สามารถสร้างเป็นอาชีพหารายได้ช่วยเหลือ
และแบ่งเบาภาระครอบครัวได้
บทที่ 3วิธีการศึกษาค้นคว้า
ในการประดิษฐ์หมอนที่รองเมาส์จากสมุนไพรโดยการนำเสนอผ่าน
Blog มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยลดความเมื่อยล้าของข้อมือและเพื่อผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์จะรู้สึกผ่อนคลายจากความเครียดที่เกิดจากการอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
1.วัสดุอุปกรณ์
2.วิธีการดำเนินการ
1.
วัสดุอุปกรณ์
1.เศษผ้า
2.เข็ม
3.ด้าย
4.ใยสังเคราะห์
5.สมุนไพรแก้ปวดเมื่อย (ตามที่แจกแจงส่วนผสมอย่างละเอียดใน บทที่ 2)
6.กาวแท่ง
7.เทียน
8.ไฟแช็ก
9.ของตกแต่งสวยงามอื่นๆ
10.ภาชนะก้นลึก
11.ช้อนชา
12.ช้อนโต๊ะ
13.ดินสอ
14.กรรไกรตัดผ้า
2.วิธีการดำเนินการ
1.ใช้ดินสอร่างเส้นบางๆตามรูปแบบของหมอนที่ต้องการลงบนเศษผ้า จำนวน 2 ชิ้น
2.ตัดผ้าตามที่ร่างเส้นไว้
3.เย็บผ้าทั้ง 2 ชิ้นเข้าด้วยกันโดยเว้นช่องไว้พอประมาณ
4.กลับด้านนอกของผ้าเข้าด้านใน
5.นำการบูรใส่ลงไปในภาชนะ 1 ช้อนโต๊ะ
6.นำพิมเสนใส่ลงไปในภาชนะ 1 ช้อนชา
7.นำสมุนไพรแก้ปวดเมื่อยใส่ลงไปในภาชนะ 1 ช้อนโต๊ะ
8.คนผสมส่วนผสมทั้งหมดให้เข้ากันในภาชนะ
9.ฉีกใยสังเคราะห์ออกจากกันเป็นชิ้นเล็กฝอย
10.ขยุ้มใยสังเคราะห์ประมาณ 1 กำมือ
11.ตักส่วนผสมในภาชนะใส่ลงไปบนใยสังเคราะห์
12.ม้วนห่อใยสังเคราะห์โดยระวังไม่ให้ส่วนผสมข้างในหกออกมา
13.ยัดใยสังเคราะห์ที่ห่อส่วนผสมทั้งหมดเข้าไปในเศษผ้าที่เว้นช่องไว้
14.เย็บช่องว่างที่เหลือให้สนิท
15.ตกแต่งลวดลายเพิ่มเติม ด้วยการติดลูกไม้ หรือ
ใช้กาวแท่งลนไฟติดเศษผ้าอื่นเพิ่มเพื่อความสวยงาม
16.
สร้างแบบประเมินความพึงพอใจด้านต่างๆของผลิตภัณฑ์
17.
โดยการนำเสนอผ่าน Blog
บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน
4.1 ผลการดำเนินงาน
จากการให้ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ หมอนที่รองเมาส์จากสมุนไพร
จำนวน 10 คน ทำแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจ
ผลความพึงพอใจของผู้ใช้เป็นไป ดังตารางนี้
*ระดับความพึงพอใจ
5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 =
น้อย และ 1 = น้อยที่สุด
*ระดับความพึงพอใจ
5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 =
น้อย และ 1 = น้อยที่สุด
ประเด็นการสำรวจความพึงพอใจ
|
จำนวนผู้ใช้ที่พึงพอใจในแต่ละระดับ(คน)
|
||||
5
|
4
|
3
|
2
|
1
|
|
1.ความสวยงามของผลิตภัณฑ์
|
5
|
4
|
1
|
-
|
-
|
2.ผลิตภัณฑ์สามารถลดความเมื่อยล้าของข้อมือได้
|
3
|
6
|
1
|
-
|
-
|
3.ผลิตภัณฑ์มีขนาดที่เหมาะสมต่อการใช้งาน
|
4
|
4
|
2
|
-
|
-
|
4.ผลิตภัณฑ์มีความสร้างสรรค์
|
6
|
3
|
1
|
-
|
-
|
5.ผู้ใช้รู้สึกผ่อนคลายจากการอยู่หน้าคอมเวลานาน
|
4
|
5
|
-
|
1
|
-
|
ตารางแสดงผลความพึงพอใจของผู้ใช้ในแต่ละระดับ
ความพึงพอใจของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ หมอนที่รองเมาส์จากสมุนไพรในด้านความสวยงามของผลิตภัณฑ์
มีผู้ใช้จำนวน 5 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด ผู้ใช้จำนวน 4 คนพึงพอใจในระดับมาก และผู้ใช้จำนวน 1 คนพึงพอใจในระดับปานกลาง ด้านผลิตภัณฑ์สามารถลดความเมื่อยล้าของข้อมือได้ มีผู้ใช้จำนวน
3 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด ผู้ใช้จำนวน 6 คนพึงพอใจในระดับมาก
และผู้ใช้จำนวน 1 คนพึงพอใจในระดับปานกลาง ด้านผลิตภัณฑ์มีขนาดที่เหมาะสมต่อการใช้งาน มีผู้ใช้จำนวน
4 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด ผู้ใช้จำนวน 4 คนพึงพอใจในระดับมาก
และผู้ใช้จำนวน 2 คนพึงพอใจในระดับปานกลาง ด้านผลิตภัณฑ์มีความสร้างสรรค์ มีผู้ใช้จำนวน
6 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด ผู้ใช้จำนวน 3 คนพึงพอใจในระดับมาก
และผู้ใช้จำนวน 1 คนพึงพอใจในระดับปานกลาง และด้านผู้ใช้รู้สึกผ่อนคลายจากการอยู่หน้าคอมเวลานาน มีผู้ใช้จำนวน
4 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด ผู้ใช้จำนวน 5 คนพึงพอใจในระดับมาก
และผู้ใช้จำนวน 1 คนพึงพอใจในระดับน้อย
บทที่ 5สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผล
ความพึงพอใจของผู้ใช้ผลิตภัณฑ์
หมอนที่รองเมาส์จากสมุนไพรในด้านความสวยงามของผลิตภัณฑ์ มีผู้ใช้จำนวน 5 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด ผู้ใช้จำนวน 4 คนพึงพอใจในระดับมาก
และผู้ใช้จำนวน 1 คนพึงพอใจในระดับปานกลาง
ด้านผลิตภัณฑ์สามารถลดความเมื่อยล้าของข้อมือได้มีผู้ใช้จำนวน 3 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด ผู้ใช้จำนวน 6 คนพึงพอใจในระดับมาก
และผู้ใช้จำนวน 1 คนพึงพอใจในระดับปานกลางด้านผลิตภัณฑ์มีขนาดที่เหมาะสมต่อการใช้งานมีผู้ใช้จำนวน
4 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด ผู้ใช้จำนวน 4 คนพึงพอใจในระดับมาก และผู้ใช้จำนวน 2 คนพึงพอใจในระดับปานกลาง
ด้านผลิตภัณฑ์มีความสร้างสรรค์มีผู้ใช้จำนวน 6 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด
ผู้ใช้จำนวน 3 คนพึงพอใจในระดับมาก และผู้ใช้จำนวน 1 คนพึงพอใจในระดับปานกลาง และด้านผู้ใช้รู้สึกผ่อนคลายจากการอยู่หน้าคอมเวลานานมีผู้ใช้จำนวน
4 คนพึงพอใจในระดับมากที่สุด ผู้ใช้จำนวน 5 คนพึงพอใจในระดับมาก และผู้ใช้จำนวน 1 คนพึงพอใจในระดับน้อย
ข้อเสนอแนะ
1.ควรเพิ่มปริมาณสมุนไพร